วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
วิจัยที่เกียวกับภาษา
โครงการวิจัย
ชื่อโครงการภาษาไทย
การเจ็บป่วยของเด็กซึ่งมารับบริการที่ฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร๋ มหาวิทยาลัยสงขลานคริน
บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องการเจ็บป่วยของเด็กที่มารับบริการที่ฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจ็บป่วยของเด็กที่มารับบริการในฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย จากกลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กที่มารับบริการในฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 111 คน เก็บรวบรวมข้อมูล ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2544 - เมษายน 2545 โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล จำนวน 2 ชุด ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ และคำนวณร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า เด็กที่มารับบริการที่ฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นเพศชาย และเพศหญิง ใกล้เคียงกัน โดยมากกว่าครึ่งหนึ่งเป็นบุตรคนที่ 1 และเป็นลูกคนเดียว เด็กส่วนใหญ่ไม่มีประวัติการเจ็บป่วยด้วยโรคภูมิแพ้ และได้รับวัคซีนครบ และส่วนใหญ่มีมารดาเป็นผู้เลี้ยงดูหลัก สำหรับการเจ็บป่วยของเด็ก พบว่า อาการหรือการเจ็บป่วยที่พบบ่อยมี 7 อาการ คือ ไข้ น้ำมูกใส น้ำมูกเขียว ไอ ผื่นผิวหนัง ถ่ายเหลว และอุบัติเหตุหกล้ม โดยอาการน้ำมูกใสเป็นอาการที่มีอุบัติการณ์มากที่สุด รองลงมาได้แก่ อาการน้ำมูกเขียว ไอ ไข้ ตามลำดับ ซึ่งเดือนที่มีอาการน้ำมูกใสมากที่สุด คือ เดือนมิถุนายน และเมื่อวิเคราะห์ถึงช่วง (episode) ความถี่ของการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ โดยมีอาการที่สำคัญ ได้แก่ ไข้ น้ำมูกใส น้ำมูกเขียว และไอ และมีอาการอย่างน้อย 2 อาการ ติดต่อกันเป็นระยะเวลามากกว่า 48 ชั่วโมง พบว่า เดือนมิถุนายนเป็นเดือนที่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบนมากที่สุด
ชื่อโครงการภาษาไทย
การเจ็บป่วยของเด็กซึ่งมารับบริการที่ฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร๋ มหาวิทยาลัยสงขลานคริน
บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องการเจ็บป่วยของเด็กที่มารับบริการที่ฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจ็บป่วยของเด็กที่มารับบริการในฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย จากกลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กที่มารับบริการในฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะพยาบาลศาสตร์ จำนวน 111 คน เก็บรวบรวมข้อมูล ตั้งแต่ 30 พฤษภาคม 2544 - เมษายน 2545 โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล จำนวน 2 ชุด ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ และคำนวณร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า เด็กที่มารับบริการที่ฝ่ายพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นเพศชาย และเพศหญิง ใกล้เคียงกัน โดยมากกว่าครึ่งหนึ่งเป็นบุตรคนที่ 1 และเป็นลูกคนเดียว เด็กส่วนใหญ่ไม่มีประวัติการเจ็บป่วยด้วยโรคภูมิแพ้ และได้รับวัคซีนครบ และส่วนใหญ่มีมารดาเป็นผู้เลี้ยงดูหลัก สำหรับการเจ็บป่วยของเด็ก พบว่า อาการหรือการเจ็บป่วยที่พบบ่อยมี 7 อาการ คือ ไข้ น้ำมูกใส น้ำมูกเขียว ไอ ผื่นผิวหนัง ถ่ายเหลว และอุบัติเหตุหกล้ม โดยอาการน้ำมูกใสเป็นอาการที่มีอุบัติการณ์มากที่สุด รองลงมาได้แก่ อาการน้ำมูกเขียว ไอ ไข้ ตามลำดับ ซึ่งเดือนที่มีอาการน้ำมูกใสมากที่สุด คือ เดือนมิถุนายน และเมื่อวิเคราะห์ถึงช่วง (episode) ความถี่ของการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ โดยมีอาการที่สำคัญ ได้แก่ ไข้ น้ำมูกใส น้ำมูกเขียว และไอ และมีอาการอย่างน้อย 2 อาการ ติดต่อกันเป็นระยะเวลามากกว่า 48 ชั่วโมง พบว่า เดือนมิถุนายนเป็นเดือนที่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจส่วนบนมากที่สุด
การพัฒนาทางภาษา
รายงานผลการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวตามคำลั่ง
นอ้งชื่อน้องเกมส์ และน้องแจ๊ค
อนุบาล2 อายุ 4 ปี
โรงเรียนยุคลธร
การเตรียมตน
- ศึกษากิจกรรมการเคลื่อนไหวตามข้อตกลง
- ฝึกการจัดกิจกรรม
- ทดลองทำกิจกรรม
การเตรียมสื่อ
- เครื่องเคาะจังหวะ
การเตรียมกิจกรรม
- นักเรียนหาพื่นที่
- ครูและนักเรียนสร้างข้อตกลงร่ามกัน
- เมื่อครูเคาะจังหวะ 1 ครั้งให้นักเรียนทำท่าสัตว์ต่างๆตามจินตนาการพร้อมกระโดดไปข้างหน้าหนึ่งครั้ง
- เมื่อครูเคาะจังหวะ2 ครั้งให้นักเรียนเอามือแตะเพื่อน
- เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดในท่านั้น
สรุปผลการจัดกิจกรรม
ผลการจัดกิจกรรมครั้วนี้เด็กๆให้ความสนใจและได้รับความสนุกสนานเด็กปฎิบัติตามข้อตกลงได้อย่างถูกต้อง แสดงว่าเด็กมีทักษะในการฟังพอสมควรและเด็กๆก็ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมครั้งนี้เป็นอย่างดี
วันอังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2551
ภาษาสำหรับเด็ก
ปัญหาอุปสรรคในการเขียนของเด็ก
1. พัฒนาการกล้ามเนื้อเล็กยังไม่แข็งแรง
2. ขาดการกระตุ้น
3. ด้านร่างกาย เช่น ป่วยร่างกายไม่สมบูรณ์
4. พัฒนาการช้า
5. สิ่งแวดล้อมที่เอี้อและเปิดโอกาศให้เด็กได้เรียนรู้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)